เรื่อง งานสรุป กิจกรรมที่ผ่านมา เพื่อจัดทำแผนแม่บทที่ชัดเจนยิ่งขึ้น
ตั้งคำถาม ให้คิดอย่างง่ายที่สุด
การสร้าง อาคารเรียน
Abstract
Recent Thai research on Karen ethnicity and resource management places significant emphasis on rotational shifting cultivation (rai mun wian) . A broad consensus has emerged that this is a relatively sustainable, ecologically friendly and subsistence-oriented form of agriculture that is threatened by the recent intrusion of the state and the market.
This paper argues that the portrayals encompassed by this 'Karen consensus' rely on overly selective accounts of Karen economy and, in particular, play down the historical importance of long-term agricultural intensification and commercial exchange. While recognising the importance of establishing the legitimacy of upland communities in a context of tenure insecurity and resource conflict, the paper argues that the 'limited legitimacy' of the 'Karen consensus' runs the risk of undermining Karen claims for a greater share of natural resources and development assistance.
This paper argues that the portrayals encompassed by this 'Karen consensus' rely on overly selective accounts of Karen economy and, in particular, play down the historical importance of long-term agricultural intensification and commercial exchange. While recognising the importance of establishing the legitimacy of upland communities in a context of tenure insecurity and resource conflict, the paper argues that the 'limited legitimacy' of the 'Karen consensus' runs the risk of undermining Karen claims for a greater share of natural resources and development assistance.
จับใจความ
ชาวกระเหรี่ยง / การจัดการ ทรัพยากร / ไร่หมุนเวียน / มิตรต่อระบบนิเวศ /
KAREN CONSENSUS
ตัวอย่าง workshop
http://www.aec.msu.edu/fs2/ag_transformation/Def_Trans.htm
KAREN CONSENSUS
ตัวอย่าง workshop
http://www.aec.msu.edu/fs2/ag_transformation/Def_Trans.htm
Workshops on Structural Transformation in Africa
WHAT IS AGRICULTURAL TRANSFORMATION?
by John M. Staatz
Michigan State University
October 29, 1998
http://scholar.google.com/scholar?q=ethnicity+north+of+thailand+&hl=en&btnG=Search&as_sdt=1%2C5&as_sdtp=on
http://scholar.google.com/scholar?cites=790635221345903067&as_sdt=2005&sciodt=0,5&hl=en
สังคม ( ประชากร อาชีพPopulation , Economic , การศึกษา , อัตตราการเติบโต ,
ภูมิศาสตร์ ( แผนที่ การใช้ประโยชน์ ที่ดิน
วัฒนธรรม ( ภาษา ประเพนี
สิ่งดี ที่มีอยู่แล้วในพื้นที่
(ในมุมชาวบ้าน เปรียบเทียบกับ มุมของเรา
ถ้า ได้ลงสำรวจ 7 ที่ ก็น่าเอามาเปรียบเทียบ
*** จากความเห็นด้านบน ผมสนใจ เรื่อง Land , Asset , Resource Management มากๆ และเรื่องของปัจจัยการผลิต ***
*** อีกวาระสำคัญ การพัฒนาชนบท และแผนแม่บท
ความแตกต่างระหว่างการพัฒนาชนบทและการพัฒนาเมืองใหญ่ ***
แผนที่ ระบุตำแหน่ง บ้านห้วยผา แม่นาจร แม่แจ่ม เชียงใหม่ |
และแต่ละหมู่บ้าน มีการเติบโตขึ้น สภาพสังคมเปลี่ยนไป
ยังไม่มีการสำรวจ หรือข้อมูลจากการศึกษา ที่จะบ่งบอกได้ว่า
แผนที่ระบุ เส้นทางโดยรอบ ของบ้านห้วยผา |
ภาพระบุ พื้นที่ป่าที่ถูกบุกรุก เพื่อการเกษตรกรรม ของชาวกระเหรี่ยง แสดงอัตตรส่วนให้เห็น ระหว่าง วงสีเขียว และวงสีแดง |
และ หาก ชุมชนเหล่านี้เติบโตขึ้น จนหมู่บ้านมีขนาดใหญ่กว่าเดิม 3-4 เท่า อัตตราการบุกรุกพื้นที่ป่าจะมีเพิ่มขึ้นเท่าไหร่ ?
และจะเกิดปัญหาตามมาหรือไม่ ?
นำมาเปรียบเทียบให้เห็นการพัฒนาและการเติบโตของชุมชนในชนบท จนกลายเป็นเขตเมืองเกษตรกรรม ทำให้เห็นพื้นที่สีเขียวถูกทำลายไปเกือบ 100%
แผนที่ ตำแหน่ง เขตเมือง แม่สลองนอก เชียงราย |
แผนที่ระบุเขตอุทยานแห่งชาติ ในจังหวัดเชียงใหม่ |
พิกัดคร่าวๆระบุตำแหน่ง บริเวณอาศัยของชนชาติกระเหรี่ยง |
กระเหรี่ยง นิยม อาศัยอยู่ บนพื้นที่ที่มีป่า อุดมสมบูรณ์
เพราะนิยม บริโภคของป่า และ มีโครงสร้างการดำเนินชีวิตที่ควบคู่ไปกับป่า
หมู่บ้านกระเหรี่ยง จะแตกต่างกับการพัฒนาเมือง ของหมู่บ้าน คนไทยที่พูดภาษาไทย ทางภาคเหนือ
หากดูรูปที่อ้างอิงจากประเทศพม่า เราจะพบได้ว่า กระเหรี่ยง มีภาษาจำเพาะส่วนตัว คือสีส้มอ่อนในแผนที่
ภูมิภาค แบ่งตามการพูดของภาษา ดูที่สีส้มอ่อน(Tiban)และสีน้ำตาล(Karen) |
========================================================================
รูปแบบการพัฒนา อย่างใหญ่ เช่นการสร้างเขื่อน
http://en.wikipedia.org/wiki/File:Languages_world_map-transparent_background.svg
ภาษากระเหรี่ยง อยู่ในจำพวก Tibeto-Burman ดูประกอบ http://en.wikipedia.org/wiki/Tibeto-Burman_languages
Tibeto-Burman จะอาศัยอยู่ในแถบพื้นที่ป่าอันอุดมสมบูรณ์เป็นหลัก
http://www.most.gov.mm/hpaantu/index.php?option=com_content&task=view&id=1&Itemid=40
บทสรุป อันแรก
เท่าที่หาข้อมูลและใช้ความคิดเห็นส่วนตัว คิดว่า การที่เรา ศึกษาแค่กรอบ การปฏิบัติ และศึกษาอยู่ในกรอบประเทศไทย ทำให้เราพลาด องค์รวม
เรื่องราว ของกระเหรี่ยง ชุมชนกระเหรี่ยง ชาวไทยภูเขา ควรศึกษาควบคู่ กับประเทสอื่น เปรียบเทียบ ชาวภูเขาในแถบประเทศต่างๆ โดยเฉพาะ ประเทศ ภูฏาน น่าเป็นแม่บทการสร้างชุมชนเมืองขนาดใหญ่ สำหรับชาวภูเขา
รูปแบบการพัฒนา อย่างใหญ่ เช่นการสร้างเขื่อน
แผนที่พิกัด เขื่อน กาญจนบุรี การพัฒนาพื้นที่ |
พิกัด เขื่อน กาญจนบุรี ปากเขื่อน ที่เอราวัณ ปลายเขื่อน ที่แม่น้ำสายอุทัยธานี |
แนวป่าขนาดใหญ่ ที่ไม่เจาะจงประเทศ วางตัวอยู่ ในหลายประเทศ ที่ไม่ใช่เขตเมือง |
ภาษากระเหรี่ยง อยู่ในจำพวก Tibeto-Burman ดูประกอบ http://en.wikipedia.org/wiki/Tibeto-Burman_languages
Tibeto-Burman จะอาศัยอยู่ในแถบพื้นที่ป่าอันอุดมสมบูรณ์เป็นหลัก
แฟคซิลิตี้ การศึกษา มหาลัย กระเหรี่ยง |
http://www.most.gov.mm/hpaantu/index.php?option=com_content&task=view&id=1&Itemid=40
Hpaan Township |
Kayin State |
Myanmar
|
No comments:
Post a Comment